วันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 เวลา 07:33:14 น.
|
Constructive education of all forms can help to build a better, happier, and more peaceful world.
วันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 เวลา 07:33:14 น.
|
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=1492196627748874&id=1429845097317361
น่าเห็นใจเธอนะ.โทรหากำนันรึยัง
ฟ้า พรทิพา ข่าวเพื่อประชาชน
19 นาที ·
อยากให้ทุกคนอ่าน..,ตอนนี้ช่วงเวลาตีสอง 43 นาที ที่ยังนอนไม่หลับ และยังสับสนที่จะสู้ต่อยังไง บอกตัวเองเสมอ เราเจ็บไม่ได้ตายไม่ได้ และล้มไม่ได้ มาวันนี้ชีวิตเหมือนล้มทั้งยืน เหมือนการทำดีไม่ได้ดี และทำให้เราท้อ แต่บอกตัวเองว่าถอยไม่ได้. เพราะมองหน้าหลานตัวน้อยที่นอนข่าง ๆ กับลูกอีกสามชีวิต ที่ยังรอความหวังจากแม่คนเดียวที่เป็นที่พึ่ง ชีวิตเหมือนละครน้ำเน่า ที่หลายคนอาจไม่เข้าใจ. มาวันที่ทหารบุกบ้าน บุกฟ้าให้ทีวี อ้อนวอนขอร้องจนหมดแรง ว่าอย่าเอาแขนขาครอบครัวเราไป. กว่าจะสร้างมันขึ้นมาได้ เลือดตาแทบกระเด็น มาวันนี้มันหายไปกับการรู้เท่าไม่ถึงการ ผลที่สุดเงินหมด ของถูกยึดไปหมด เพราะเพียงรายการเสียงเสรี ซึ่งเราไม่เคยเห็นด้วยกับการที่จะมาด่าทหาร หรือต่อต้านรัฐบาลทหาร แต่วันที่รายการออกพลาดที่เราไวใจไม่ได้เช็ครายการ ก่อนออกพอมาถึงวันนี้กลายเป็นคนผิด เหมือนถูกตัเแขนตัดขา เมื่อสองวันก่อนท้อถึงขั้นคิดฆ่าตัวตาย.... แต่ต้องหยุดความคิดและข้ามความทุกข์ในวันนั้นมาให้พ้น.., เพื่อแม่ที่แก่แล้ว และลูก 3 คนหลานรักอีก 1 คน ที่ต้องคอยลุกขึ้นชงนมให้กินทุกคืน... ถ้าเราตายไปพวกเขาเหล่านี้จะอยู่ยังไง แถมลูกน้องอีก 20 กว่าชีวิตที่รอความหวังว่าไม่ตกงาน. ชีวิตผู้หญิงตัวคนเดียวที่ต่อสู้ขีวิตมาทั้งชีวิต และสู้เคียงข้างมากับ พธม. กปปส. หลายครั้งที่เกือบตายเพราะกระสุนปืนและระเบิด ในการชุมนุม แต่ไม่ถอยแม้แต่ก้าวเดียว หมดเงินไปกับการชุมนุมมากมาย แต่มาวันนี้เวลาเราเดือดร้อน โทรหาใครผู้ใหญ่ก็บ่ายเบี่ยงในการช่วย เลยบอกตัวเองว่าตนเป็นที่พึ่งแห่งตน..., ไม่โกรธรัฐบาลทหาร ไม่โกรธใคร แต่น้อยใจในโชคชะตาของตัวเอง...,แต่ไม่พ่ายแพ้ต่อชีวิตทร่เกิดขึ้น จะขอความเป็นธรรมจากสังคมและจาก รัฐบาลทการ เพราะคนคนนี้ต้องอยู่เพื่ออีกหลายชีวิต วิงวอนสังคมที่อาจเข้าใจผิด จงเข้าใจผู้หญิงนักสู้คนนี้ด้วยเถิด.., เขียนออกมาจากใจในยามค่ำคืนที่นอนไม่หลับเพราะความทุกข์หนัก กับการถูกทหารตัดแขนตัดขาไปรอบนี้....รักชาติ รักทหาร สิ่งที่ตัวเองพูดเสมอมา.,, แต่มาวันนี้ทหารบุกบ้าน มายึดของ เครื่องมือที่ทำมาหากินเลี้ยงคนหลายชีวิต มาจบสิ้นพายในพริบตา แถมตำรวจจับเข้าห้องขัง 1 คืน ถามว่าใจสู้ใหมสู้ แต่เงินสับสินหมดแล้ว ชีวิตจะเดินต่ออย่างไร ?
เฟส เพจ กรุงเทพ กรุงเทพ
เปิดรายชื่อ ครูฝึก 10 คน ที่รุมทำร้าย
พลทหารวิเชียร เผือกสม อายุ 26 ปี จนเสียชีวิต
ภาพแรกคือ ร้อยโท ภูริ เพิกโสภณ (ผู้ต้องหา)
ร้อยโท ภูริ เพิกโสภณ (ผู้ต้องหา)
ร้อยตรี โอม มาลัยหอม (จำเลยที่๑)
สิบเอก สุรศักดิ์ หรือ หรั่ง บุญเมือง (จำเลยที่๒)
สิบเอก กมล หรือ เด่น บัวทอง (จำเลยที่๓)
สิบเอก อาคม หรือ จิ๋ว จังหรีด (จำเลยที่๔)
พลทหาร ฐากูร หรือ แก็บ สมานุกร (จำเลยที่๕)
พลทหาร กิตติพงศ์ หรือ แม็ค โจ้งจาบ (จำเลยที่๖)
พลทหาร เกริกพันธ์ หรือ บอล แกล้วทนงค์ (จำเลยที่๗)
พลทหาร สมัย หรือ หมัย ไกรทิพย์ (จำเลยที่๘)
พลทหาร สาธร หรือ อ้อย เพชรจำรัส (จำเลยที่๙)
พลทหารวิเชียร เผือกสม เขาถูกครูฝึกนับ 10 คนรุมทำร้าย
โดยอ้างต้องลงโทษเพราะพยายามหลบหนี จากหน่วยฝึก 2 ครั้ง
ทั้งการตบหน้า บังคับให้กินพริกสด ลากตัวไปกับพื้นปูน ใช้เกลือทาที่บาดแผล เหยียบหน้าอก ใช้ผ้าขาวห่อตัวเหลือแต่หน้า พร้อมมัดตราสังข์เหมือนศพทั้งที่ยังมีชีวิต
เขายังถูกบังคับให้กินข้าวบนก้อนน้ำแข็ง วางก้อนน้ำแข็งทับหน้าอก
ถูกฟาดด้วยไม้ไผ่จนไม้ไผ่แตก 3 อัน ขาถูกแทงด้วยไม้ไผ่แหลม
ถูกเตะที่ชายโครง หน้าอก กระทืบท้ายทอยจนคางแตก
และเตะใบหน้าจนเลือดออกปาก
พยานในเหตุการณ์เล่าว่า พลทหารวิเชียรก้มลงกราบเท้าครูฝึก
และขอร้องให้หยุดทำร้าย แต่ครูฝึกยังไม่หยุด เสียงร้องอย่างเจ็บปวด สลับกับเสียงกระทืบ ดังจนร้อยโทผู้บังคับหน่วยฝึก ชะโงกหน้า จากอาคารชั้นบนมาดู และพูดว่าอย่าำแรงมากนัก
ครูฝึกจึงพาพลทหารวิเชียรไปทำร้ายต่อบริเวณอื่น หลังถูกรุมทำร้ายนาน 3 วัน พลทหารวิเชียรไตวาย เพราะกล้ามเนื้อบาดเจ็บรุนแรง และเสียชีวิตที่โรงพยาบาลขณะอายุ 26 ปี
สภาพศพบวมช้ำทั้งตัวจนญาติแทบจำไม่ได้ คือการฆ่าทรมานกลางสถานที่ราชการ ต่อหน้าผู้บังคับหน่วยฝึก ข้าราชการ และทหารใหม่ไม่ต่ำกว่า 200 คน
ผู้ตายคือน้าชายของ นริศราวัลถ์ แก้วนพรัตน์ หรือเมย์
เธอสูญเสียน้าชายขณะเรียนชั้นปี 2 และหลายครั้งต้องหยุดเรียน
มาเดินเรื่องฟ้องคนฆ่าน้าชาย ซึ่งเต็มไปด้วยอุปสรรคตลอด 4 ปีที่ผ่านมา
ล่าสุดอัยการจังหวัดนราธิวาส เปิดเผยว่า ขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณาสำนวนคดี นริศราวัลถ์ ยอมรับว่ามีหลายคนไม่เห็นด้วย
กับการเดินหน้าฟ้องในคดีอาญา เพราะส่วนใหญ่คิดว่า สู้ยังไงก็ไม่ชนะคดี
แต่เธอต้องการสู้เพื่อให้สังคมเห็นว่า ลูกชาวบ้าน ก็ลุกขึ้นมาทวงความยุติธรรมได้
หยุดดัดจริตประเทศไทย
มีข่าวลือว่าหมอหยองโดนจับ พวกคสช.แถลงว่าไม่โดน
สุดท้ายก็โดนจับจริงตามข่าวลือ
ประวุฒิกับอคชาติมีข่าวหนีพร้อมลาออก กองทัพยืนยันว่าไม่จริง
สุดท้ายลาออกจริงก็หนีไปต่างประเทศพร้อมโดน 112
บอกสารวัตรเอี๊ยดไม่ได้ตายตามข่าวลือ สุดท้ายก็ตายจริงคาคุกทหาร ด้วยการผูกคอให้ห้องผนังปูนปิดตาย 4 ด้าน
พลตรี พิสิฐศักดิ์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา ที่มีข้อมูลว่าตายก่อนหมอหยองโดนจับ สุดท้ายก็บอกแค่ว่าผิดร้ายแรง ถอดยศเครื่องราช และไม่น่ามีชีวิตรอด
กลายเป็นว่าข่าวลือคือความจริงที่ไม่ถึงเวลา
และคำแถลงของ พวก คสช. คือคำโป้ปดมดเท็จต่อประชาขน
การตายของสารวัตรเอี๊ยดและหมอหยองรวมถึงพลตรี พิสิฐศักดิ์นั้นเต็มไปด้วยปริศนามากมาย
มันน่าแปลกใจจริงๆ ... ตายในค่ายทหาร เรือนจำลึกลับ ห่างไกลสายตาสังคม ตั้งอยู่ในค่ายทหาร เรียกว่าคุกทหารก็ว่าได้
คนคุมเป็นทหาร คนพบศพหยองและเอี๊ยดก็คือทหาร
คนบอกว่าหยองตายก็เป็นทหาร
ที่น่าสนใจกว่าคือ คนถูกหยองซัดทอดก็เป็นทหาร ..คนที่จะซวยเพราะหมอหยองกำลังซัดทอดก็ดันเป็นทหาร ..
ตรวจสอบอะไรไม่ได้เลย เพราะทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับหยองและเอี๊ยดทั้งหมดเป็นทหาร...บังเอิญจริงๆ
@หยุดดัดจริตประเทศไทย https://www.facebook.com/stopfakethailand/photos/a.414343421995746.1073741828.413982712031817/898723153557768/?type=3&theater
มีการกล่าวกันว่า เมื่อมีกองกำลังต่างชาติ โดยองค์การสหประชาชาติ ยกเข้ามาจัดการ ในการแก้ปัญหาของ การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ที่ประเทศไทย แก้ไขไม่ได้
๑. โดยกล่าวหาว่า"นานาชาติ เข้ามาเสือก ในกิจการภายในของประเทศไทยนั้้น " ตรงนี้ผมต้องขออธิบายสักนิด
๒. แต่เดิมนั้น "รัฐทุกรัฐ สามารถอ้างเหตุ เรื่องการแทรกแซงกิจการภายใน ของตนได้ เป็นไปตาม Classic International Law ในเรื่อง อำนาจอธิปัตย์ แห่งรัฐ หรือ State's Sovereignty" จึงเกิดการฆ่ากันแหลกราน
๓. ก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง (เดือนกันยายน ปีค.ศ.1938 อังกฤษ และ ฝรั่งเศส ประกาศสงครามกับ ประเทศเยอรมันนี ในกรณีของดานซิกซ์ ในโปแลนด์) จนนำไปสู่การละเมิดกฏเกณฑ์สนธิสัญญา กรุงเฮก ปีค.ศ. 1899 - 1907, สนธิสัญญากรุงเจนีวา ปีค.ศ.1925 จนนำไปสู่การฆ่า และ ทรมานเชลยศึก ไปจนถึงการฆ่าฟันพลเรือน (ชาวยิว, โปแลนด์ ยิปซี พวกสล๊าฟ ตายนับล้านๆ)
๔. ซึ่งเราเรียกการทรมานและการฆ่าว่า "เป็นการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์" ในเอเชีย ก็เมื่อกองทัพลูกพระอาทิตย์ ฆ่าชาวจีน ฟิลิปปินส์ ตายรวมแล้ว หลายล้านคน
๕. ในโซเวียตรุสเซีย เมือสตาลินใช้นโบบาย กำจัดศัตรูคู่แข่ง ที่เห็นตรงข้ามตน คนต้องล้มตายไม่ต่ำกว่า สองถึงสามล้านคน
๖. ด้วยเหตุนี้ หลังสงครามโลกครั้งที่สอง บรรดานายพลนาซี เยอรมัน และญี่ปุ่น จึงต้องถูกประหารชีวิต เพราะ กระทำการขัดต่อ ข้อห้ามของ โลก ในการใช้กำลังและ อาวุธ รวมทั้ง ทหารเพื่อเข่นฆ่าผู้คน ตาม the London Charter, 1938 (สนธิสัญญานี้ยังไม่ถูกยกเลิก แต่พักการใช้)
๗. ในเวลาต่อมาเกิด เป็นสนธิสัญญาป้องกัน และ ลงโทษ ต่อผู้กระทำความผิดอาญาในฐาน การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ปีค.ศ.1951 และ มีสนธิสัญญาว่าด้ว การการทรมาน ปีค.ศ.1984 และสนธิสัญญาที่เกี่ยวกับ การขจัดการ การเหยียดเผ่าพันธุ์ทุกรูปแบบ รวมทั้งสนธิสัญญาว่าด้วย เรื่องการขจัดการกระทำ ที่เป็น Apartheid
๘. แม้กระนั้น ก็เกิดการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ขึ้นในหลายๆแห่ง บนพื้นพิภพนี้ เช่นในเอธิโอเปีย อิรัค ลิเบีย ไฮติ บอสเนีย เฮอร์เซ โกวีน่า ราวันด้า และ ซูดาน จนคณะมนตรีความมั่นคงของ องค์การสหประชาชาติ ต้องจัดตั้งศาลอาญาพิเศษ ขององค์การสหประชาชาติในปีค.ศ.1994 - 1995
๙. ตามข้อบัญญัติที่ 827(1993), ที่ 627 (1994) และ ในเวลาต่อมาเกิดสนธิสัญญากรุงโรม หรือ Rome Statue,1998 เพื่อลงโทษแก่ ความผิดอาญา ฐานการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ และ ความผิดในฐาน เป็นปฏิปักษ์ต่อมนุษยชาติขึ้น ในศาลอาญาระหว่างประเทศ หรือ the International Criminal Court หรือ ศาล ICC ตามคำร้องขอของชาติสมาชิก โดยให้องค์การสหประชาชาติ เป็นสปอนเซอร์ ในการจัดตั้งศาลอาญาถาวรขึ้น
๑๐. ในที่สุดเมือปีค.ศ.1991 องค์การสหประชาชาติ เริ่มก่อตั้งคณะกรรมการป้องกันการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ขึ้น ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญทางกฏหมาย เป็นส่วนใหญ่ และ ประกาศนโยบายนี้สำเร็จ เป็นผล ในปีค.ศ.2004
๑๑. ซึ่งเนื้อใจใจความก็ "เพื่อก่อให้เกิด การใช้อำนาจของ การร่วมกลุ่ม เพื่อขจัดกวาดล้างแก่ การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ที่เกิดขึ้น ในรัฐเจ้าของพลเมือง และ รัฐนั้นๆ ไม่ทำหน้าที่ปกป้องพลเมืองของ ตนเอง จากการฆ่าเช่นว่านั้น
๑๒. จึงให้สิทธิแก่ รัฐข้างเคียง และ รัฐอื่นๆ รวมตัวกัน เข้าปกป้องพลเมือง ของรัฐ ที่เป็นเจ้าของพลเมือง โดยการยกกองกำลังทหาร เข้าไปสอดแทรก การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ที่เกิดขึ้นอยู่ ในขณะนั้นได้"
๑๓. นี่จึงเป็นการสิ้นสุดของ หลักอำนาจอธิปัตย์สูงสุด และ เด็ดขาด ของรัฐ ตาม Classic International Law และหลักการบางส่วนของ Peaceful Co - Existence ที่นำเสนอโดยปูโทรส ปูโทรส กาลี อดีตเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ในปีค.ศ.2000
๑๔. ด้วยเหตุดังได้กล่าวมานี้ ในวันนี้ การใช้กองกำลัง เข้าไปขจัด กวาดล้าง การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ที่เกิดในรัฐใดๆ จึงกระทำได้ และ ไม่ถือว่า "เป็น การแทรกแซงต่อ กิจการภายใน ของรัฐ ผู้ก่อเกิด การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ เช่นว่านั้นๆ ในเมื่อรัฐนั้นๆ มีอำนาจ ที่จะป้องกัน กลับ ไม่ให้การป้องกัน แก่การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ต่อพลเมืองของ ตนเอง เช่นที่ว่ามานี้
เอวัง ก็มีด้วยประการ ฉะนี้.
มีการกล่าวกันว่า เมื่อมีกองกำลังต่างชาติ โดยองค์การสหประชาชาติ ยกเข้ามาจัดการ ในการแก้ปัญหาของ การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ที่ประเทศไทย แก้ไขไม่ได้
๑. โดยกล่าวหาว่า"นานาชาติ เข้ามาเสือก ในกิจการภายในของประเทศไทยนั้้น " ตรงนี้ผมต้องขออธิบายสักนิด
๒. แต่เดิมนั้น "รัฐทุกรัฐ สามารถอ้างเหตุ เรื่องการแทรกแซงกิจการภายใน ของตนได้ เป็นไปตาม Classic International Law ในเรื่อง อำนาจอธิปัตย์ แห่งรัฐ หรือ State's Sovereignty" จึงเกิดการฆ่ากันแหลกราน
๓. ก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง (เดือนกันยายน ปีค.ศ.1938 อังกฤษ และ ฝรั่งเศส ประกาศสงครามกับ ประเทศเยอรมันนี ในกรณีของดานซิกซ์ ในโปแลนด์) จนนำไปสู่การละเมิดกฏเกณฑ์สนธิสัญญา กรุงเฮก ปีค.ศ. 1899 - 1907, สนธิสัญญากรุงเจนีวา ปีค.ศ.1925 จนนำไปสู่การฆ่า และ ทรมานเชลยศึก ไปจนถึงการฆ่าฟันพลเรือน (ชาวยิว, โปแลนด์ ยิปซี พวกสล๊าฟ ตายนับล้านๆ)
๔. ซึ่งเราเรียกการทรมานและการฆ่าว่า "เป็นการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์" ในเอเชีย ก็เมื่อกองทัพลูกพระอาทิตย์ ฆ่าชาวจีน ฟิลิปปินส์ ตายรวมแล้ว หลายล้านคน
๕. ในโซเวียตรุสเซีย เมือสตาลินใช้นโบบาย กำจัดศัตรูคู่แข่ง ที่เห็นตรงข้ามตน คนต้องล้มตายไม่ต่ำกว่า สองถึงสามล้านคน
๖. ด้วยเหตุนี้ หลังสงครามโลกครั้งที่สอง บรรดานายพลนาซี เยอรมัน และญี่ปุ่น จึงต้องถูกประหารชีวิต เพราะ กระทำการขัดต่อ ข้อห้ามของ โลก ในการใช้กำลังและ อาวุธ รวมทั้ง ทหารเพื่อเข่นฆ่าผู้คน ตาม the London Charter, 1938 (สนธิสัญญานี้ยังไม่ถูกยกเลิก แต่พักการใช้)
๗. ในเวลาต่อมาเกิด เป็นสนธิสัญญาป้องกัน และ ลงโทษ ต่อผู้กระทำความผิดอาญาในฐาน การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ปีค.ศ.1951 และ มีสนธิสัญญาว่าด้ว การการทรมาน ปีค.ศ.1984 และสนธิสัญญาที่เกี่ยวกับ การขจัดการ การเหยียดเผ่าพันธุ์ทุกรูปแบบ รวมทั้งสนธิสัญญาว่าด้วย เรื่องการขจัดการกระทำ ที่เป็น Apartheid
๘. แม้กระนั้น ก็เกิดการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ขึ้นในหลายๆแห่ง บนพื้นพิภพนี้ เช่นในเอธิโอเปีย อิรัค ลิเบีย ไฮติ บอสเนีย เฮอร์เซ โกวีน่า ราวันด้า และ ซูดาน จนคณะมนตรีความมั่นคงของ องค์การสหประชาชาติ ต้องจัดตั้งศาลอาญาพิเศษ ขององค์การสหประชาชาติในปีค.ศ.1994 - 1995
๙. ตามข้อบัญญัติที่ 827(1993), ที่ 627 (1994) และ ในเวลาต่อมาเกิดสนธิสัญญากรุงโรม หรือ Rome Statue,1998 เพื่อลงโทษแก่ ความผิดอาญา ฐานการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ และ ความผิดในฐาน เป็นปฏิปักษ์ต่อมนุษยชาติขึ้น ในศาลอาญาระหว่างประเทศ หรือ the International Criminal Court หรือ ศาล ICC ตามคำร้องขอของชาติสมาชิก โดยให้องค์การสหประชาชาติ เป็นสปอนเซอร์ ในการจัดตั้งศาลอาญาถาวรขึ้น
๑๐. ในที่สุดเมือปีค.ศ.1991 องค์การสหประชาชาติ เริ่มก่อตั้งคณะกรรมการป้องกันการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ขึ้น ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญทางกฏหมาย เป็นส่วนใหญ่ และ ประกาศนโยบายนี้สำเร็จ เป็นผล ในปีค.ศ.2004
๑๑. ซึ่งเนื้อใจใจความก็ "เพื่อก่อให้เกิด การใช้อำนาจของ การร่วมกลุ่ม เพื่อขจัดกวาดล้างแก่ การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ที่เกิดขึ้น ในรัฐเจ้าของพลเมือง และ รัฐนั้นๆ ไม่ทำหน้าที่ปกป้องพลเมืองของ ตนเอง จากการฆ่าเช่นว่านั้น
๑๒. จึงให้สิทธิแก่ รัฐข้างเคียง และ รัฐอื่นๆ รวมตัวกัน เข้าปกป้องพลเมือง ของรัฐ ที่เป็นเจ้าของพลเมือง โดยการยกกองกำลังทหาร เข้าไปสอดแทรก การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ที่เกิดขึ้นอยู่ ในขณะนั้นได้"
๑๓. นี่จึงเป็นการสิ้นสุดของ หลักอำนาจอธิปัตย์สูงสุด และ เด็ดขาด ของรัฐ ตาม Classic International Law และหลักการบางส่วนของ Peaceful Co - Existence ที่นำเสนอโดยปูโทรส ปูโทรส กาลี อดีตเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ในปีค.ศ.2000
๑๔. ด้วยเหตุดังได้กล่าวมานี้ ในวันนี้ การใช้กองกำลัง เข้าไปขจัด กวาดล้าง การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ที่เกิดในรัฐใดๆ จึงกระทำได้ และ ไม่ถือว่า "เป็น การแทรกแซงต่อ กิจการภายใน ของรัฐ ผู้ก่อเกิด การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ เช่นว่านั้นๆ ในเมื่อรัฐนั้นๆ มีอำนาจ ที่จะป้องกัน กลับ ไม่ให้การป้องกัน แก่การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ต่อพลเมืองของ ตนเอง เช่นที่ว่ามานี้
เอวัง ก็มีด้วยประการ ฉะนี้.
|
| |||
8 พฤศจิกายน 2558 21:11 น. (แก้ไขล่าสุด 9 พฤศจิกายน 2558 00:50 น.) |
http://manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9580000124371 |
|
Lesson 9: Learning Grammar Through Conversations by Dr. Snea Thinsan Lesson 9: Learning Grammar Through Convers...