Thanaboon Chiranuvat
พี่น้องประชาชนคนไทย เกิดความสงสัย จึงไต่ถามผมมา
นี่คือคำตอบในข้อสงสัยของพี่น้องที่ผมตอบโดยสังเขป:
อาจารย์คะ.มีสมาชิกถามมาค่ะ อีกประการที่อยากเรียนถาม
ถ้าหากว่าไทยกระทำผิดสนธิสัญญา กฎบัตร ฯ ใครจะเป็นผู้กล่าวหา
ดำเนินการทางอาญา เพราะเคยเห็นว่า ไทยยังไม่ได้
ยอมรับที่จะอยู่ในอำนาจศาลอาญาระหว่างประเทศ หรือยอมรับแล้วก็ตาม
ใครจะบังคับใช้กฎหมาย ครับ ในบ้านเรายังพอมองออกว่า ตำรวจ ทหาร
ถ้าระหว่างประเทศ ใครดำเนินการครับ
Dumbai Man
ปัญหาคือใครจะเป็นผู้บังคับใช้กฎหมาย แล้วศาลไทยจะนำมาใช้หรือครับ
หากยังไม่มีการนำมาอนุวัฒน์เป็นกฎหมายไทย คือยอมรับแล้วแต่จะต้องมา
ทำใ้ห้เป็นกฎหมายไทยก่อนหรือเปล่า จำได้เลา ๆ ว่าใน รธน.มีเขียนไว้ ยิ่ง
ถ้าเป็นกฎหมายสำคัญตัองให้ผ่านสภาด้วย สอบถามเป็นวิทยาทานนะครับ
คำถามนี้ เป็นคำถามสำคัญ เพราะคนไทย ที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ
ไม่เคยทราบมาก่อนว่า "ประเทศไทย เข้าไปเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติ
นั้น ต้องปฏิบัติอย่างไร? เพราะเราไม่สั่งไม่สอน
กันในโรงเรียนกฏหมายของประเทศ กลัวว่าจะไปถูกครอบงำโดยต่างชาติ"
ที่จริงแนวคิดที่กล่าวมา เป็นแนวคิดทีผิดมหันต์ คนไทย จึงไม่เคยทราบอะไร?
เลยเกี่ยวกับองค์การสหประชาชาติ
ในโรงเรียนกฏหมายที่ผมไปศึกษามาจนจบหลักสูตรในต่างประเทศ
เขาพร่ำสอนกันจนรู้แจ้งแทงตลอดเกี่ยวกับ
องค์การนี้ :
1.
พวกคุณ จำเป็นต้องรู้เสียก่อนว่า องค์การนี้ เป็นองค์การโลกบาล
ในการรักษาความสงบ และสันติสุขของโลก ให้ไปนำกฏบัตรสหประชาชาติ
มาศึกษาเสียโดยเน้นไปที่จุดแรกคือ คำปรารภ (Preamble)
มีวัตถุที่ประสงค์สำคัญ ๓ ข้อ (ให้ไปศึกษาดู นั่นคือเจตนารมณ์ที่แท้จริงของ
องค์การสหประชาชาติ
2. องค์การตั้งขึ้นมาโดยใช้หลักใหญ่ที่สำคัญ
ก็คือ หลักความร่วมมือ (Co - Operation) จากนานาชาติ ไม่ใช้หลัก
Sovereignty ของชาติ อีกต่อไป เพราะหลักตัวหลังนี้
เขาเลิกใช้บนยุโรปมาไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ปีแล้ว เพราะหลักนี้เองทำให้เกิดสงคราม
สองครั้งสองหนบนพื้นพิภพนี้ สงครามโลกในหนหลัง
มนุษย์ถูกฆ่าตายเพราะพิษภัยสงครามไม่ต่ำกว่า ๘๐ ล้านคน
3.
เมื่อมีปัญหาสำคัญในระหว่างชาติ หรือในชาติที่อาจไปกระทบชาติอื่นๆข้างเคียง
เขาจึงต้องให้ สมัชชาใหญ่ (General Assembly หรือ GA) และ
คณะมนตรีความมั่นคง หรือ Security Council (ผู้บริหารสูงสุดขององค์การ
เป็นคนออกคำสั่งตัดสินใจ และทุกชาติสมาชิกก็ยอมรับ ถ้าไม่ยอมรับ
ก็ส่งปัญหาที่เป็นข้อกฏหมายไปให้ศาลโลก (International Court of Justice,
ICJ) เป็นคนตัดสินชี้ขาด ทุกๆชาติตั้งแต่ก่อตั้งองค์การมา ก็ไม่มีชาติใด
หรือใคร? ไม่ยอมรับคำตัดสิน ที่เขาเรียกวิธีการนี้ว่า
"การตกลงด้วยสันติวิธี หรือ Pacific Settlement)
4.
หากชาติคุณไม่ยอมรับในคำตัดสินเช่นนี้แล้ว เขาก็มีมาตรการบังคับ คือ
มาตรการโดยรวมทางสันติ คือ การ Boycott ต่างๆ และการ Embargo
ปิดกั้นไม่ให้ทำมาค้าขายด้วย ยกตัวอย่างเช่น สหภาพอาฟริกาใต้ (South
Africa) โดนมาแล้ว เป็นเวลาถึง ๒๐ ปี และมาตรการโดยรวม (Collective
Measures) ทางทหาร ที่หลายๆประเทศในอาฟริกากลาง และตะวันออก อิรัค
และลิเบียโดนกระทำอยู่ หรือเช่นที่เกิดในบอสเนีย และราวันด้า เป็นต้น
5. สำหรับเรื่องราวที่เกิดอยู่ในประเทศไทยในเวลานี้ เป็นเพราะคณะทหาร หรือ
คสช. กำลังทำตัวไปคล้ายๆ กับ Slorg ของพม่า ซึ่งสหประชาชาติ EU และ
สหรัฐฯ กับชาติสมาชิกไม่ยอม คนไทยจึงต้องทุกข์ร้อนในวันนี้
มาจากมาตรการค่อยๆบีบให้คณะคสช. จนมุม
6. คุณมาถามผมว่า ใครจะเป็นคนบังคับ ก็ประกอบไปด้วยองค์กรใหญ่ในองค์การที่สำคัญ ๔ องค์กรคือ:
๒. คณะมนตรีความมั่นคง
๓. คณะมนตรีทางเศรษฐกิจ และสังคม
๔. ศาลโลก
๑. สมัชชาใหญ่
คนไทยต้องรู้จักใช้เครื่องมือเหล่านี้ให้เป็น ทุกๆเรื่อง
ที่เป็นความวุ่นวาย ความลำบากที่เกิดอยู่ในประเทศนี้ ก็จะจบลงด้วยสันติวิธี
ไม่ต้องมาเสียเลือดเนื้อ ส่วนใครทำผิด เป็นความผิดทางอาญา
ตามสนธิสัญญาต่างๆเอาไว้ เป็นเรื่องที่อยู่ในอำนาจของ คณะมนตรีความมั่นคง
ที่จะจัดการ
โดยกล่าวหาเป็นคดีอาญาส่งไปดำเนินคดีในศาลอาญาพิเศษของสหประชาชาติได้ทันที
หรือไม่ก็ส่งไปดำเนิคดีในศาลอาญาระหว่างประเทศ (the International Criminal
Court, ICC) หรือไม่ก็ใช้ศาลนูเรมเบริกร์ เพราะสนธิสัญญา London Charter,
1938 ยังไม่ถูกยกเลิก ศาลนี้ใครไปขึ้นและผิดจริงถ้าเป็นทหาร โทษที่ลงก็คือ
แขวนคอลูกเดียว
ดังที่เราเห็นกันมาแล้วภายหลังจากที่สงครามโลกครั้งที่สองสงบ
บรรดานายพลเยอรมัน ญี่ปุ่น อิตาลี ถูกซิว เป็นแถว
เป็นอำนาจของคณะมนตรีความมั่นคง เป็นคนชี้ว่า จะใช้ศาลใดในสามศาลนี้
คนที่จะมาจับกุมตัวอาชญากรไปขึ้นศาลตามคำสั่งของคณะมนตรีความมั่นคงอาจเป็น:
๑.ทหารรับจ้างฝรั่งเศส
๒.ทหารรับจ้างโปแลนด์
๓.หน่วย Delta Force
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความดื้อดึงดันของตัวอาชญากร ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้
หวังว่าผมคงตอบคุณที่สงสัยในเรื่องคนบังคับใช้กฏเกณฑ์ กฏบัตรสหประชาชาติ
หรือ Charter of United Nations ที่ตัวของกฏบัตร ก็คือ
สนธิสัญญาหลายฝ่าย หรือ Multilateral Treaty หากคำอธิบายนี้ตรงใดไม่กระจ่าง ก็ถามมาได้ครับ สวัสดี.
นี่คือคำตอบในข้อสงสัยของพี่น้องที่ผมตอบโดยสังเขป:
อาจารย์คะ.มีสมาชิกถามมาค่ะ อีกประการที่อยากเรียนถาม
ถ้าหากว่าไทยกระทำผิดสนธิสัญญา กฎบัตร ฯ ใครจะเป็นผู้กล่าวหา
ดำเนินการทางอาญา เพราะเคยเห็นว่า ไทยยังไม่ได้
ยอมรับที่จะอยู่ในอำนาจศาลอาญาระหว่างประเทศ หรือยอมรับแล้วก็ตาม
ใครจะบังคับใช้กฎหมาย ครับ ในบ้านเรายังพอมองออกว่า ตำรวจ ทหาร
ถ้าระหว่างประเทศ ใครดำเนินการครับ
Dumbai Man
ปัญหาคือใครจะเป็นผู้บังคับใช้กฎหมาย แล้วศาลไทยจะนำมาใช้หรือครับ
หากยังไม่มีการนำมาอนุวัฒน์เป็นกฎหมายไทย คือยอมรับแล้วแต่จะต้องมา
ทำใ้ห้เป็นกฎหมายไทยก่อนหรือเปล่า จำได้เลา ๆ ว่าใน รธน.มีเขียนไว้ ยิ่ง
ถ้าเป็นกฎหมายสำคัญตัองให้ผ่านสภาด้วย สอบถามเป็นวิทยาทานนะครับ
คำถามนี้ เป็นคำถามสำคัญ เพราะคนไทย ที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ
ไม่เคยทราบมาก่อนว่า "ประเทศไทย เข้าไปเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติ
นั้น ต้องปฏิบัติอย่างไร? เพราะเราไม่สั่งไม่สอน
กันในโรงเรียนกฏหมายของประเทศ กลัวว่าจะไปถูกครอบงำโดยต่างชาติ"
ที่จริงแนวคิดที่กล่าวมา เป็นแนวคิดทีผิดมหันต์ คนไทย จึงไม่เคยทราบอะไร?
เลยเกี่ยวกับองค์การสหประชาชาติ
ในโรงเรียนกฏหมายที่ผมไปศึกษามาจนจบหลักสูตรในต่างประเทศ
เขาพร่ำสอนกันจนรู้แจ้งแทงตลอดเกี่ยวกับ
องค์การนี้ :
1.
พวกคุณ จำเป็นต้องรู้เสียก่อนว่า องค์การนี้ เป็นองค์การโลกบาล
ในการรักษาความสงบ และสันติสุขของโลก ให้ไปนำกฏบัตรสหประชาชาติ
มาศึกษาเสียโดยเน้นไปที่จุดแรกคือ คำปรารภ (Preamble)
มีวัตถุที่ประสงค์สำคัญ ๓ ข้อ (ให้ไปศึกษาดู นั่นคือเจตนารมณ์ที่แท้จริงของ
องค์การสหประชาชาติ
2. องค์การตั้งขึ้นมาโดยใช้หลักใหญ่ที่สำคัญ
ก็คือ หลักความร่วมมือ (Co - Operation) จากนานาชาติ ไม่ใช้หลัก
Sovereignty ของชาติ อีกต่อไป เพราะหลักตัวหลังนี้
เขาเลิกใช้บนยุโรปมาไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ปีแล้ว เพราะหลักนี้เองทำให้เกิดสงคราม
สองครั้งสองหนบนพื้นพิภพนี้ สงครามโลกในหนหลัง
มนุษย์ถูกฆ่าตายเพราะพิษภัยสงครามไม่ต่ำกว่า ๘๐ ล้านคน
3.
เมื่อมีปัญหาสำคัญในระหว่างชาติ หรือในชาติที่อาจไปกระทบชาติอื่นๆข้างเคียง
เขาจึงต้องให้ สมัชชาใหญ่ (General Assembly หรือ GA) และ
คณะมนตรีความมั่นคง หรือ Security Council (ผู้บริหารสูงสุดขององค์การ
เป็นคนออกคำสั่งตัดสินใจ และทุกชาติสมาชิกก็ยอมรับ ถ้าไม่ยอมรับ
ก็ส่งปัญหาที่เป็นข้อกฏหมายไปให้ศาลโลก (International Court of Justice,
ICJ) เป็นคนตัดสินชี้ขาด ทุกๆชาติตั้งแต่ก่อตั้งองค์การมา ก็ไม่มีชาติใด
หรือใคร? ไม่ยอมรับคำตัดสิน ที่เขาเรียกวิธีการนี้ว่า
"การตกลงด้วยสันติวิธี หรือ Pacific Settlement)
4.
หากชาติคุณไม่ยอมรับในคำตัดสินเช่นนี้แล้ว เขาก็มีมาตรการบังคับ คือ
มาตรการโดยรวมทางสันติ คือ การ Boycott ต่างๆ และการ Embargo
ปิดกั้นไม่ให้ทำมาค้าขายด้วย ยกตัวอย่างเช่น สหภาพอาฟริกาใต้ (South
Africa) โดนมาแล้ว เป็นเวลาถึง ๒๐ ปี และมาตรการโดยรวม (Collective
Measures) ทางทหาร ที่หลายๆประเทศในอาฟริกากลาง และตะวันออก อิรัค
และลิเบียโดนกระทำอยู่ หรือเช่นที่เกิดในบอสเนีย และราวันด้า เป็นต้น
5. สำหรับเรื่องราวที่เกิดอยู่ในประเทศไทยในเวลานี้ เป็นเพราะคณะทหาร หรือ
คสช. กำลังทำตัวไปคล้ายๆ กับ Slorg ของพม่า ซึ่งสหประชาชาติ EU และ
สหรัฐฯ กับชาติสมาชิกไม่ยอม คนไทยจึงต้องทุกข์ร้อนในวันนี้
มาจากมาตรการค่อยๆบีบให้คณะคสช. จนมุม
6. คุณมาถามผมว่า ใครจะเป็นคนบังคับ ก็ประกอบไปด้วยองค์กรใหญ่ในองค์การที่สำคัญ ๔ องค์กรคือ:
๒. คณะมนตรีความมั่นคง
๓. คณะมนตรีทางเศรษฐกิจ และสังคม
๔. ศาลโลก
๑. สมัชชาใหญ่
คนไทยต้องรู้จักใช้เครื่องมือเหล่านี้ให้เป็น ทุกๆเรื่อง
ที่เป็นความวุ่นวาย ความลำบากที่เกิดอยู่ในประเทศนี้ ก็จะจบลงด้วยสันติวิธี
ไม่ต้องมาเสียเลือดเนื้อ ส่วนใครทำผิด เป็นความผิดทางอาญา
ตามสนธิสัญญาต่างๆเอาไว้ เป็นเรื่องที่อยู่ในอำนาจของ คณะมนตรีความมั่นคง
ที่จะจัดการ
โดยกล่าวหาเป็นคดีอาญาส่งไปดำเนินคดีในศาลอาญาพิเศษของสหประชาชาติได้ทันที
หรือไม่ก็ส่งไปดำเนิคดีในศาลอาญาระหว่างประเทศ (the International Criminal
Court, ICC) หรือไม่ก็ใช้ศาลนูเรมเบริกร์ เพราะสนธิสัญญา London Charter,
1938 ยังไม่ถูกยกเลิก ศาลนี้ใครไปขึ้นและผิดจริงถ้าเป็นทหาร โทษที่ลงก็คือ
แขวนคอลูกเดียว
ดังที่เราเห็นกันมาแล้วภายหลังจากที่สงครามโลกครั้งที่สองสงบ
บรรดานายพลเยอรมัน ญี่ปุ่น อิตาลี ถูกซิว เป็นแถว
เป็นอำนาจของคณะมนตรีความมั่นคง เป็นคนชี้ว่า จะใช้ศาลใดในสามศาลนี้
คนที่จะมาจับกุมตัวอาชญากรไปขึ้นศาลตามคำสั่งของคณะมนตรีความมั่นคงอาจเป็น:
๑.ทหารรับจ้างฝรั่งเศส
๒.ทหารรับจ้างโปแลนด์
๓.หน่วย Delta Force
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความดื้อดึงดันของตัวอาชญากร ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้
หวังว่าผมคงตอบคุณที่สงสัยในเรื่องคนบังคับใช้กฏเกณฑ์ กฏบัตรสหประชาชาติ
หรือ Charter of United Nations ที่ตัวของกฏบัตร ก็คือ
สนธิสัญญาหลายฝ่าย หรือ Multilateral Treaty หากคำอธิบายนี้ตรงใดไม่กระจ่าง ก็ถามมาได้ครับ สวัสดี.
No comments:
Post a Comment
Note: Only a member of this blog may post a comment.